Rules based globalization and free trade is over. We are entering a new phe one that is more arbitrary protectionist and dangerous. การขึ้นภาษีนำเข้าครั้งใหญ่ของ ประธานธิบดีโดนัลดทรัมป์ไม่ได้เพียงแค่ เขย่าโลกการ ค้าแต่ว่ามันเป็นสัญญาณบอกถึงการรื้อถอน ระเบียบโลกเดิมที่สหรัฐเป็นผู้สร้างไว้ และเปลี่ยนผ่านไปสู่ระเบียบโลก ใหม่ที่น่าสนใจกว่านั้นก็คือการตัดสินใจ อันสุดโต่งของทรัมป์ในวันนี้มันมีจุด เริ่มต้นมาจากการเดินหมากที่ผิดพลาดใน อดีตของประธานาธิบดีบิลคินตันเมื่อ 24 ปี ก่อนครับเหตุการณ์คนละช่วงเวลามันเชื่อม โยงกันอย่างไรและระเบียบโลกใหม่ที่สหรัฐ กำลังมุ่งหน้าไปมันจะพลิกอนาคตโลกมากขนาด ไหนติดตามได้ในรายการ G message โลกที่เราอยู่ทุกวันนี้ไม่ได้เติบโตขึ้น มาเองตามธรรมชาติครับแต่ว่ามันมีมหาอำนาจ บางกลุ่มคอยกำหนดทิศทางมาโดยตลอดซึ่งเรา เรียกสิ่งนี้กันว่าระเบียบโลกครับหลาน ทศวรรษที่ผ่านมาระเบียบโลกถูกขับเคลื่อน ด้วยโลกาภิวัฒน์หรือglobบationชีวิต ปัจจุบันที่เราซื้อของจากจีนดูซีรีส์ เกาหลีกินอาหารญี่ปุ่นใช้โทรศัพท์ที่ออก แบบโดยสหรัฐแต่ว่าประกอบขึ้นในจีนทั้งหมด นี้มันล้วนเป็นผลมาจากโลกาภิวัฒน์ ครับหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสดลง เมื่อปี 1918 หลายฝ่ายก็หวังครับว่า สันติภาพมันจะยั่งยืนแต่สนธิสัญญาแวซาย มันกลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของความไม่สงบ ครั้งใหม่สนธิสัญญานี้มันกำหนดให้เยอรมนี รับผิดชอบต่อความเสียหายมหาศาลบวกกับการ ที่สหรัฐตั้งกำแพงภาษีสูงเพื่อปกป้อง อุตสาหกรรมภายในประเทศสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจที่ย่ำแย่อยู่แล้วของเยอรมันีมัน จึงยิ่งเลวร้ายลงไปอีกครับและกลายเป็น ชนวนสำคัญให้พรรคการเมืองฝ่ายขวาจัดได้ รับความนิยมเปิดช่องให้adดอฮitเลอร์ก้าว ขึ้นสู่อำนาจซุ่มตั้งกองกำลังอย่างลับๆ และพยายามบุกยึดดินแดนข้างเคียงจนนำไปสู่ สงครามโลกครั้งที่ 2 พลังทำลายล้างของระเบิดปรมณูที่ปิดฉาก สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นบทเรียนสำคัญที่ ทำให้มนุษยชาติตระหนักครับว่าพวกเขาไม่ ควรทำผิดซ้ำรอยเดิมอีกหลังสงครามโลกครั้ง ที่ 2 จึงไม่มีการลงโทษเยอรมนีหรือ ญี่ปุ่นอย่างรุนแรงเหมือนในอดีตครับและ อเมริกาที่ได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคน ใหม่ก็ถือโอกาสนี้วางระเบียบโลกแบบใหม่ ผ่านการสร้างองค์กรระหว่างประเทศขึ้นมา 4 องค์กรซึ่งกลายเป็นเสาหลักของโลกาภิวัฒน์ ในยุคปัจจุบัน องค์กรแรกคือสหประชาชาติหรือว่า UN ครับ ช่วงแรกมันถูกออกแบบให้เป็นองค์กรที่มี อำนาจทางการเมืองและหันมาเน้นภารกิจรักษา สันติภาพที่มุ่งเน้นการสังเกตการหรือว่า ไก่เกี่ยระหว่างคู่ขัดแย้งมากกว่าองค์กร ที่ 2 ตั้งต้นมาจากข้อตกลงทั่วไปว่าด้วย ภาษีศูรกากรและการค้าหรือเรียกว่า GAT ครับซึ่งมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีเพิ่มการ ค้าและภายหลัง GAT ก็กลายมาเป็นองค์กรการ ค้าโลกหรือว่า WTO องค์กรที่ 3 คือกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศหรือว่า IMF มีหน้าที่ดูแลรักษา เสถรภาพของระบบการเงินโลกโดยกำหนดให้ค่า เงินของแต่ละประเทศผูกติดกับค่าเงินของ สหรัฐซึ่งเงินดอลลาร์สหรัฐจะอิงกับราคา ทองคำด้วยอัตราคงที่คือ 35 ดอลลาร์ต่อทอง คำ 1 ออนหรือว่าประมาณทอง 2 บาทครับพร้อม ให้สกุลเงินอื่นๆผูกติดกับเงินดอลลาร์อีก ทอดนึงเพื่อป้องกันการลดค่าเงินแข่งขัน กันเองหากประเทศใดต้องการจะลดค่าเงินของ ตัวเองก็จะต้องได้รับการอนุญาตจาก IMF เท่านั้นนะครับซึ่งจะโยงมายังองค์กรที่ 4 อย่างธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะ และพัฒนาหรือว่า IBRD ที่ภายหลังเปลี่ยน ชื่อมาเป็นธนาคารโลกหรือ World Bankงครับ ช่วงเริ่มแรก World Bankง์ถูกออกแบบมาให้ ทำหน้าที่ให้เงินกู้สำหรับการบูรณยุยุโรป หลังสงครามครับแต่ว่าในช่วงทศวรรษ 1950 วัตถุประสงค์ขององค์กรก็ได้ขยายไปยังการ ให้เงินทุนสนับสนุนโครงการพัฒนา อุตสาหกรรมหลายรูปแบบในประเทศกำลังพัฒนา ไม่ว่าจะเป็น WTO IMF หรือว่า World Bank ล้วนแล้วแต่ถูกวางรากฐานไว้ที่การ ประชุมหนึ่งที่เรียกว่าการประชุม bratันวูดครับช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี 1944 ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรจึงเรียกสิ่งนี้กันว่า ระบบหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ Betonวูดส่งเสริมให้การค้าและการลงทุน ระหว่างประเทศเติบโตอย่างรวบเร็วครับหลาย ประเทศเศรษฐกิจเติบโตแบบก้าวกระโดดการค้า โลกก็เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วสิ่งที่ตามมา ก็คือเงินดอลลาร์มันขาดสภาพคล่องครับการ พิมพ์เงินดอลลาร์ออกมาเรื่อยๆทำให้ช่วงรา ทศวรรษ 1960 เริ่มมีการตั้งคำถามครับว่า สหรัฐพิมพ์เงินมากเกินกว่าทองคำที่ตัวเอง สำรองไว้จริงหรือไม่หรือว่าถ้ามีคนเอา เงินดอลลาร์ทั้งหมดมาแลกเป็นทองสหรัฐจะมี ทองมากพอให้แลกได้หรือไม่ที่สุดแล้วครับ เมื่อปี 1971 ประธานาธิบดีิกชัดิกสันก็ ประกาศยกเลิกการผูกดอลลาร์กับทองคขับเอา ดื้อๆเลยครับส่งผลให้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน แบบตายตัวสิ้นสุดลงทันทีและเข้าสู่ระบบ อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวแบบที่เราใช้กัน อยู่ในปัจจุบันตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาครับ มูลค่าของดอลลาร์ก็ไม่ได้ขึ้นอยู่กับทอง คำอีกต่อไปครับแต่ถ้าถามว่าประเทศอื่นๆ ไม่โวยวายหรืออย่างไรครับอยู่ๆก็มายกเลิก ระบบการผูกเงินกับทองคำไปแบบดื้อๆแบบนี้ คำตอบก็คือโวยวายไปก็ไม่ได้อะไรขึ้นมามี แต่จะเสียครับประการแรกเวลานั้นสหรัฐเป็น มหาอำนาจโลกหมายเลข 1 ไปแล้วครับประการ ต่อมาก็คือทุกประเทศก็ถือเงินดอลลาร์หรือ ว่าพันธบัตรสหรัฐไว้เป็นทุนสำรองกันทั้ง นั้นครับการจะไม่ยอมรับก็ทำอะไรไม่ได้ หรอกครับเท่ากับว่านับจากวันนั้นเงิน ดอลลาร์ไม่ได้ผูกกับทองคำแต่ว่าผูกอยู่ กับความเชื่อมั่นที่มีต่อเศรษฐกิจและ เสถรภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาแต่ทว่า เมื่อเวลาผ่านไปสหรัฐผู้ซึ่งเป็นผู้ลม เมียดละไมออกแบบโลกาภิวัฒน์ยุคใหม่นี้เอง ก็กลายเป็นหนึ่งในผู้ที่ตั้งคำถามกับระบบ ที่ตัวเองสร้างขึ้นมาแล้ว ครับแล้วก็พิวัฒน์ที่ดำเนินมาหลายทศวรรษ มันได้แบ่งโลกเป็นฝั่งอย่างไม่ได้ตั้งใจ คือฝั่งผู้ชนะและผู้แพ้ครับสำหรับสหรัฐ พวกเขามองว่าตัวเองอยู่ฝั่งผู้แพ้ เพื่อทำความเข้าใจว่าโลกาภิวัฒน์มันสร้าง บาดแผลอะไรให้กับสหรัฐนะครับรายการคีมเส ได้พูดคุยกับนักเศรษฐศาสตร์ผู้ติดตามแนว โน้มโลกอย่างใกล้ชิดก็คือดร.
สันติฐาน เสถียรไทยที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจแห่งอนาคต สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยหรือ TDI และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะ กรรมการนโยบายการเงินหรือว่ากนง. นะครับ ดร. สันติฐานอธิบายครับว่าสหรัฐได้เปลี่ยน บทบาทตัวเองจากผู้ผลิตของโลกมาอยู่ในฐานะ ผู้บริโภคของโลกแทนโดยเลือกเน้นการผลิต เฉพาะในสาขาที่ตัวเองถนัดครับเช่น เทคโนโลยีและการเงินเมื่อสหรัฐเลิกทำหน้า ที่เป็นผู้ผลิตของโลกผู้ที่เข้ามารับช่วง ต่อก็คือเหล่าประเทศในเอเชียครับเริ่มต้น จากญี่ปุ่นก่อนจะค่อยๆขยายมาสู่กลุ่มสี เสือแห่งเอเชียอย่างสิงคโปร์ฮ่องกง ไต้หวันและเกาหลีใต้จนในที่ ก็ส่งไม้ต่อมาถึงจีน ครับโอลิมปิกเมื่อปี 2008 ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนการแสดงตีกรองอย่างพร้อมเพรียง ของนักแสดงกว่า 2,000 ชีวิตได้ทำให้คน ทั้งโลกโดยเฉพาะคนอเมริกันตื่นตะลึงว่า จีนพัฒนาไปไกลเกินกว่าที่พวกเขาคาดคิด ครับและเมื่อคนสหรัฐเหลียวหลังกลับมามอง ประเทศตัวเองสิ่งที่พวกเขาเห็นก็คือความ เสื่อมถอยของสหรัฐอเมริกาที่เคยยิ่งใหญ่ ครับในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขนาด เศรษฐกิจของสหรัฐเคยมากถึง 40% ของ เศรษฐกิจโลกครับแต่จากตัวเลขเมื่อปี 2023 สัดส่วนดังกล่าวนี้ลดลงเหลือเพียง 26% อีกทั้งสหรัฐไม่ได้เป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ ที่สุดอีกต่อไปประเทศที่แซงหน้าขึ้นมาก็ คือจีนครับในขณะที่จีนก้าวไปข้างหน้า สหรัฐกับสะดุดในหลายมิติครับในด้านการ ผลิตถ้าไม่นับภาคการผลิตเซมิคอนักเตอร์ ตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมาภาคการผลิตอื่นๆ ของสหรัฐตัวลงถึง 10% แม้แต่ในหมวดสินค้า เทคโนโลยีขั้นสูงที่เคยทำให้สหรัฐได้ เปรียบในเวทีการค้าก็ยังเปลี่ยนจากเกิน ดุลกลายมาเป็นขาดดุลอย่างน่าเป็นห่วงครับ โดยข้อมูลของAustraliเลียน Strategic Policy Insisus พบนะครับว่าจาก เทคโนโลยีสำคัญ 44 รายการจีนเป็นผู้นำถึง 37 รายการครับแต่สหรัฐเป็นผู้นำเพียงแค่ 7 รายการเท่านั้นถ้าดูดัชนีความสามารถใน การแข่งขันที่สหรัฐอเมริกาเคยครองอันดับ 1 มาตลอดตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมาสหรัฐ เริ่มสูญเสียตำแหน่งผู้นำจนล่าสุดปี 2024 สหรัฐอยู่อันดับที่ 12 จาก 67 ประเทศใน แง่ของขีดความสามารถในการแข่งขันนะครับ ส่วนหันมาดูหนี้สาธารณะของสหรัฐก็พุ่ง ทะยานแตะไปที่ระดับ 36.
22 22 ล้านล้าน ดอลลาร์สูงที่สุดในประวัติศาสตร์แต่สิ่ง ที่คนอเมริกันรู้สึกไม่ได้อยู่ในตัวเลข เหล่านี้ครับแต่ว่ามันสะท้อนอยู่ในชีวิต ความเป็นอยู่ของพวกเขาการย้ายโรงงานไป ต่างประเทศทำให้เขตอุตสาหกรรมเก่าแก่หลาย แห่งในสหรัฐกลายเป็นเมืองร้าง รัฐแรงงานในอุตสาหกรรมเดิมของสหรัฐไม่ได้ ถูกเปลี่ยนผ่านไปสู่งานแห่งอนาคตที่มีราย ได้ดีอย่างที่เคยคาดหวังไว้เลยจำนวนงาน ที่ต้องใช้วุฒปริญญาเติบโตเพียงครึ่ง เดียวของจำนวนบัณฑิตที่จบออกมาและสำหรับ แรงงานอเมริกันส่วนใหญ่ที่ทำงานในสายงาน ที่ไม่ต้องใช้ปริญญาค่าจ้างของพวกเขาแทบ จะไม่ขยับขึ้นเลยครับร้ายวันนี้สหรัฐ กำลังจะสูญเสียงานอีกนับล้านตำแหน่งจาก ปรากฏการณ์Chชina Shock ที่สินค้าราคาถูก จากจีนหลั่งไหลเข้าสู่ตลาดภายในประเทศจน ไม่อาจจะแข่งขันได้ในสภาพที่ประชาประชาชน รู้สึกว่าทรัพยากรและโอกาสมันมีจำกัดความ รู้สึกไม่พอใจต่อโลกาภิวัฒน์จึงเพิ่มขึ้น ครับคนอเมริการู้สึกว่าตัวเองไม่ได้ ประโยชน์ใดๆนอกจากต้องเห็นบ้านเมือง เสื่อมโทรมลงงานหายไปและคุณภาพชีวิตที่ดี ลดลงตามถ้าอยากจะเข้าใจว่าความรู้สึกคน อเมริกันเป็นยังไงนะครับผมลองชวนคิด อย่างี้คือประเทศไทยในประมาณปี 2 ปีที่ ผ่านมาเริ่มเข้าใจด้านมืดของโลภิวัฒน์ที่ ถูกบริหารแบบไม่ดีกับตัวเราแล้วนะครับการ ที่เราเจอสินค้าราคาถูกล้นตลาดการที่เรา เจอทุนสีเทาเข้ามาการที่เราเจอ Prime ออนไลน์สแกมทั้งหลายสูงขึ้นนะครับทั้ง หลายเนี่ยมันคือด้านเงามืดของโลกาภิวัฒ ที่ไม่ได้รับการบริหารที่ดีพอนะครับคน อเมริกาประสบหลายๆอย่างไม่ได้ต่างจากตรง นี้เท่าไหร่หรอกครับแล้วพอมันโดนหลายปี สะสมเข้าเราก็จะเข้าใจได้ว่าทำไมเขาถึง ไม่ค่อยพอใจหรอกครับหลายท่านอาจจะนึกไม่ ถึงนะครับว่าหลายปัญหาที่สหรัฐเผชิญอยู่ ในวันนี้มีต้นตอมาจากการวางหมากที่ผิด พลาดในยุคสงครามเย็นครับ ครับตั้งแต่พรรคคอมมิวนิสต์จีนชนะสงคราม กลางเมืองเมื่อปี 1949 ความสัมพันธ์ ระหว่างสหรัฐและจีนก็ห่างเหินครับจน กระทั่งทศวรรษ 1970 ทั้ง 2 ประเทศส่ง สัญญาณว่าจะกลับมาฟื้นฟูความสัมพันธ์กัน อีกครั้งผ่านการโทษปิงปองที่มีการแลก เปลี่ยนนักกีฬาปิงปองระหว่างระหว่างสหรัฐ และจีนเหตุการณ์นี้ปูทางไปสู่การเดินทาง ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนอย่างลับๆของ เฮนรี่คิซิเจอร์ด้วยเป้าหมายที่สำคัญก็ คือดึงจีนมาเป็นพันธมิตรเพื่อถ่วงดุล อำนาจกับสหภาพโซเวียตและนำไปสู่การเยือน จีนครั้งประวัติศาสตร์ของประธานาธิบดี ิชารนิกันเมื่อปี 1972 จีนจึงเริ่มเปิดเสวรีภายในประเทศ อย่างค่อยเป็นค่อยไปตั้งแต่ช่วงปลาย ทศวรรษ 1908 80 และเมื่อถึงปี 2001 อดีต ประธานธิบดีบิลคินตันสนับสนุนให้จีนเข้า มาเป็นสมาชิก WTO พร้อมกับความคาดหวัง ครับว่าจะทำให้จีนเดินตามรอยญี่ปุ่นนั่น ก็คือยิ่งเศรษฐกิจเติบโตมากขึ้นก็จะยิ่ง เป็นประชาธิปไตยและกลายเป็นพันธมิตรของ สหรัฐมากขึ้นตาม ลำดับแต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงมันกลับไม่ เป็นอย่างนั้นครับเศรษฐกิจจีนไม่เพียงแค่ พุ่งทะยาและเติบโตอย่างรวดเร็วแต่ยัง สามารถแทรกซึมเข้าไปในระบบเศรษฐกิจโลกได้ อย่างลึกซึ้งประเทศต่างๆทั่วโลกรวมถึง ประเทศไทยด้วยเราต่างพึ่งพาการผลิตจากจีน เป็นหลักครับสังเกตได้จากสินค้าในชีวิต ประจำวันของเราครับรอบตัวเราล้วนแต่ Made in China ทั้ง นั้นคู่แข่งของสหรัฐก็คือจีนในยุคนี้มัน แตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับกรณีเมื่อเทียบ กับสหภาพโซเวียตในอดีตครับซึ่งตอนนั้นแม้ แม้โซเวียตจะเป็นมหาอำนาจในเวทีการเมือง โลกแต่ก็ไม่เคยมีอิทธิพลในเชิงเศรษฐกิจ ครับลองคิดภาพง่ายๆนะครับว่าในระดับประชา ชนทั่วไปอย่างเราไม่เคยมีใครใช้สินค้าที่ ผลิตในสหภาพโซเวียตเลยนะ ครับเมื่อโลกภิวัฒน์ไม่ได้สร้างประโยชน์ ให้กับสหรัฐอีกต่อไปสหรัฐอเมริกาในยุคของ ประธานาธิบดีโดนัลดทรัมป์จึงแสดงท่าที อย่างชัดเจนในการรื้อถอนระเบียบโลกเดิม ด้วยการถอยห่างออกจากระบบความร่วมมือ ระหว่างประเทศที่ตัวเองเคยสร้างขึ้นมา เริ่มด้วยการถอนตัวออกจากองค์การอนามัย โลกหรือว่า WHO ตามมาด้วยการระงับงบ สนับสนุน WTO และสร้างความกังวลว่าอาจจะ ถึงขั้นถอนตัวจาก IMF ด้วยเช่นกันครับดร. สภวุฒิสายเชื้อประธานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติและที่ปรึกษาด้านนโยบาย ของนายกรัฐมนตรีขยายประเด็นนี้เพิ่มเติม กับเรานะครับว่าการตัดสินใจของสหรัฐในยุค ของประธานาธิบดีทรัมป์นั้นไม่ได้เกิดขึ้น ลอยๆครับแต่ว่ามี 3 เหตุผลสำคัญที่อยู่ เบื้องหลังเหตุผลแรกก็คือความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและการป้องกันประเทศสหรัฐต้องการ นำเอาอุตสาหกรรมสำคัญกลับมาในประเทศครับ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับความ มั่นคงเช่นเหล็กอลูมิเนียมและยานยนต์ซึ่ง สามารถใช้ในการผลิตอาวุธและยุทโธปกรณ์ได้ รวมถึงอุตสาหกรรมไฮเทคอย่าง AI และ Semิuตorที่ถือว่าเป็นหัวใจของเศรษฐกิจ ยุคใหม่เพื่อเสริมความแข็งแกร่งของฐาน เศรษฐกิจในระยะ ยาวขณะเดียวกันสหรัฐยังต้องการปกป้องห่วง โซ่อุปทานที่ถือเป็นจุดอ่อนเชิง ยุทธศาสตร์ด้วยครับโดยเฉพาะวัตถุดิบสำคัญ อย่างแร่หายากหรือ rare เอิทที่จำเป็นต่อ การผลิตยุทโธปกรณ์ขั้นสูงเช่นเครื่องบิม รบ F35 เพราะวันนี้จีนไม่ได้เป็นแค่ผู้ ครอบครองแร่เหล่านี้กว่า 60% ของโลกนะ ครับแต่ว่าจีนยังควบคุมการผลิตและแปรรูป ถึง 90% ของตลาดโลกสหรัฐจึงตั้งคำถามครับ ว่าเราจะยอมให้เครื่องบินขับไร่ของเรามี ชิ้นส่วนที่ผลิตจากจีนได้อย่างไรและความ เสี่ยงนี้ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในอุตสาห อุตสาหกรรมป้องกันประเทศเท่านั้นนะครับ เพราะแม้แต่ในระบบสาธารณสุขวัตถุดิบสำคัญ ในการผลิตยาทั่วไปอย่าง Active Pharmaceutical Inredience หรือว่า API กว่า 50% ก็มีแหล่งที่มาจากจีนครับซึ่ง หมายความว่าความมั่นคงด้านสาธารณสุขของ สหรัฐเองก็อยู่ภายใต้ความเสี่ยงที่หนีไม่ พ้นเช่นกันทั้งหมดนี้ถือเป็นเรื่อง อธิปไตยทางเศรษฐกิจที่สหรัฐไม่สามารถ ปล่อยให้คู่แข่งอย่างจีนถือไพ่เหนือกว่า ได้อีกต่อไปครับเหตุผลที่ 2 คือการค้า ต้องมีความสมดุลรัฐบาลทรัมป์มองว่าการขาด ดุลการค้ากับประเทศอื่นๆคือการถูกเอา เปรียบในระบบเศรษฐกิจโลกเพื่อแก้ปัญหานี้ จึงเลือกใช้นโยบายตั้งกำแพงภาษีกับสินค้า นำเข้าครับโดยหวังว่าจะช่วยลดการขาดดุล และเพิ่มรายได้เข้าสู่ระบบงบประมาณของ รัฐบาลเมื่อวันที่ 2 เมษายนปี 2025 จึง กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจโลกครับเมื่อประธานาธิบดี โดัลดทรัมปมาตรการภาษีนำเข้าครั้งใหญ่โดย กำหนดให้เรียกเก็บภาษีขั้นต่ำ 10% สำหรับ สินค้านำเข้าจากทุกประเทศพร้อมเรียกเก็บ เพิ่มเป็นพิเศษในกลุ่มประเทศที่สหรัฐมี การขาดดุลการค้าการกระทำนี้ถือว่าเป็นการ ท้าทายกฎพื้นฐานที่สุดของ WTO อย่างชัด เจนเลยครับโดยเฉพาะหลักการที่สำคัญที่ เรียกว่า Most Favor Nation Treatment หรือว่า MFN ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของระบบ การค้าเสรีครับตามหลัก MFN หาก 2 ประเทศ ตกลงลดภาษีนำเข้าสินค้าระหว่างกันเช่นจาก 20% ลดเหลือ 5% หรือประเทศสมาชิก WTO อื่นๆก็จะต้องได้รับสิทธิพิเศษแบบเดียว กันทันทีโดยอัตโนมัตินะครับและสุดท้าย เหตุผลที่ 3 คือระบบการเงินครับสหรัฐไม่ ต้องการให้ประเทศอื่นๆถือครองเงินดอลลาร์ ในปริมาณมากเพราะมองว่าเป็นภาระที่ทำให้ สหรัฐต้องจ่ายดอกเบี้ยในระดับสูงหากจะถือ จริงๆก็ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างเช่น ต้องถือพันธบับระยะยาวและต้องห้ามขายก่อน ครบกำหนดเพื่อไม่ให้กระทบต่อความมั่นคง ของระบบการเงินของตัว เองการกระทำของสหรัฐในปัจจุบันกำลังบอกคน ทั้งโลกครับว่าคืนวันอันหอมหวานของ โลกาภิวัฒน์จบลงแล้วครับอเมริกากำลังวาด เส้นระเบียบโลกใหม่ขึ้นอีกครั้งแต่ยังไม่ มีใครรู้ว่าเส้นเหล่านั้นมันจะลากไปสู่ ภาพแบบใดในอนาคตดร. สปุบอกว่าสิ่งนึงที่ เรารู้แน่ชัดก็คือสหรัฐได้เปลี่ยนไปแล้ว ครับและไม่ใช่แค่เปลี่ยนแปลงเฉพาะในยุค ของโดนัลดทรัมปเท่านั้นแต่เป็นการเปลี่ยน ระยะยาวที่กระทบต่อทุกคนฉะนั้นอย่าไปหวัง ว่าอเมริกาเขาจะกลับไปเหมือนเดิมเราถึง เห็นอย่างประธาบดีสิงคโปร์ถึงเออกมาพูดไง ถ้าเขาคิดว่าจะกลับไปเหมือนเดิมเ้าไม่มา พูดอย่างงั้นหรอกประเด็นสำคัญคืออย่านึก ประเทศไทยเราอย่านึกว่าที่เราจะไปเจรจา กับอเมริกาเนี่ยเราจะกลับให้ทำให้ทุก อย่างกลับไปเหมือนเดิมมันไม่เหมือนเดิม แล้วเค้ารื้อระบบเค้าไม่ได้แค่มาขอเจรจา 2:2 ไม่ใช่เค้ารื้อระบบนะครับขณะที่ดร.
สันติฐานมองว่าอาจจะจำแนกสักทหรือว่า ซิริโอของโลกาภิวัฒน์ยุคใหม่ได้เป็น 3 แนวทางหลักๆนะครับแนวทางแรกคือ สารทวราที่สุดเลยคือโลกกลายเป็นสังคมที่ ปิดกั้นอย่างสิ้นเชิงสิ่งที่เคยเป็นโรค ร้ายพรมแดนกลับกลายเป็นโรคที่เต็มไปด้วย กำแพงไม่ว่าจะเป็นกำแพงทางการค้าการเงิน เทคโนโลยีการเดินทางหรือแม้กระทั่งการ ศึกษาระหว่างประเทศทุกอย่างล้วนมีข้อ จำกัดและกลายเป็นเรื่องยากขึ้นเรื่อยๆอีก สริโอนึงหรือว่าอีกฉากทัศน์นึงอาจจะดูสวย งามในทางอุดมคตินั่นก็คือแม้สหรัฐเลือก ปิดตัวลงมากขึ้นแต่ประเทศอื่นๆบนโลกก็ยัง คงหลั่งไหลอยู่ในกระแสของโลกาภิวัฒน์ อย่างคึกคักครับเหมือนกับว่าไม่มีอะไร เปลี่ยนแปลงอย่างไรก็ตามครับในความเป็น จริงโลกไม่ได้จะเดินไปสุดทางในแบบใดแบบ หนึ่งครับแต่จะเคลื่อนไปในทิศทางที่ผสม ผสานระหว่างฉากทะแรกกับฉากทัศที่ 2 พร้อม ทั้งเผชิญกับความท้าทายในหลายมิติหนึ่งใน ความท้าทายสำคัญก็คือเรื่องการค้าการพึ่ง พาแหล่งวัตถุดิบราคาถูกจากประเทศใดประเทศ หนึ่งกลายเป็นความเสี่ยงที่ต้องหลีก เลี่ยงครับการจัดการซpัพพlyาย chain ใน อนาคตจึงต้องกระจายตัวมากขึ้นซึ่งจะทำให้ ต้นทุนของสินค้าเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วยนอก จากนี้ยังมีแนวโน้มว่าตลาดโลกอาจจะแตกตก เป็น 3 กลุ่มหลักๆครับกลุ่มแรกก็คือกลุ่ม สหรัฐอเมริกากลุ่มที่ 2 คือกลุ่มจีนกลุ่ม ที่ 3 เรียกว่า NUS หรือว่า non US China ได้แก่กลุ่มประเทศอาเซียนอินเดีย ยุโรปตะวันออกกลางลาตินอเมริกาและแอฟริกา โอกาสของไทยจึงอยู่ที่การหาตลาดใหม่ใน กลุ่มประเทศเหล่านี้แต่ทุกประเทศก็คิดแบบ นี้เหมือนกันหมดแล้วครับจึงทำให้ตลาดที่ เหลืออยู่กลายเป็นพื้นที่แข่งขันกันอย่าง ดุเดือดซึ่งไทยเองก็ต้องรับมือกับสินค้า จากต่างประเทศที่หลั่งไหลเข้ามาแข่งขันใน ไทยด้วยเช่นกันจากเดิมที่อาจจะมีแค่จีน แต่ต่อจากนี้ประเทศอื่นๆอาจจะเข้ามามาก ขึ้นครับในมิติของการเงินแม้ดอลลาร์สหรัฐ จะยังคงเป็นสกุลเงินหลักของโลกแต่จากการ ที่ดร.